ประกันอาชีพแพทย์ ถูกสุดๆ,ประกันภัยความรับผิดวิชาชีพแพทย์,ประกันความรับผิดวิชาชีพแพทย์ จาก วิริยะประกันภัย ,การประกันความรับผิดสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์ในประเทศไทย,ประกันความรับผิดทางการแพทย์ จาก กรุงเทพประกันภัย,การประกันวิชาชีพแพทย์
แพกเกจประกันความรับผิดวิชาชีพแพทย์ แต่ละสาขาความ
เชี่ยวชาญ คลิก เพื่อดูรายละเอียดเเพกเกจ
ประกันภัยด้านความรับผิดผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์
แนวโน้มในปัจจุบัน ความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์และผู้ป่วย เปลี่ยนจาก Doctor-patien relationship สู่พ่อค้ากับลูกค้า Provider-client relationships ยิ่งค่ารักษาแพงขึ้น ยิ่งส่งผลให้ความคาดหวังในผลการรักษาสูงขึ้น และเมื่อมีความผิดพลาดในการประกอบเวชกรรม วงเงินเรียกร้องที่แพทย์จะต้องชดใช้สูงขึ้นด้วย
ประกันผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์ จะเข้ามาช่วยบรรเทาความรับผิดทางการแพทย์ที่เกิดขึ้น 2 ด้านหลักๆ คือ
1. คุ้มครองการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากบุคคลภายนอกซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเวลาที่เอาประกันภัย (โปรดศึกษา Claims made basis เพิ่มเติม)
2. ค่าใช้จ่ายในการต่อสู้คดี
Medical Malpractice liability สามารถซื้อประกันนี้ได้จาก บริษัทประกันวินาศภัยที่จำหน่าย เช่น วิริยะประกันภัย กรุงเทพประกันภัย เป็นต้น
Retroactive date คืออะไร สำคัญอย่างไร
Retroactive date คืออะไร
กรมธรรม์ประเภท claims made type มักจะใช้กับ การประกันภัยความรับผิดทางวิชาชีพ เช่น แพทย์ เป็นต้น ซึ่งกรมธรรม์ประเภทนี้นอกจากจะมี วันเริ่มและสิ้นสุดความคุ้มครองแล้ว ยังอาจระบุวันที่เริ่มคุ้มครองย้อนหลังหรือ Retroactive date ไว้ โดยส่วนมากจะเป็นวันที่เริ่มต้นเอาประกันในปีแรก
ตัวอย่าง
นายแพทย์ ก ทำประกัน Medical malpractice policy กับบริษัทรับประกัน A ไว้ ซึ่งเป็นกรมธรรม์ประเภท Claims made basis โดยเริ่มเอาประกัน 1 มกราคม 2557 สิ้นสุด 1 มกราคม 2558 และมีการต่ออายุต่อเนื่องอีกในปีที่ 2 กรมธรรม์ในปีที่ 2 ก็จะหมดอายุวันที่ 1 มกราคม 2559 โดยมี Retroactive date เป็นวันที่ 1 มกราคม 2557 (วันแรกที่เริ่มเอาประกันของกรมธรรม์ปีแรก)
Retroactive date สำคัญอย่างไร
จากตัวอย่างข้างต้น ความคุ้มครองของกรมธรรม์ประเภท Claims made type บริษัทรับประกัน A จะคุ้มครองเฉพาะความผิดพลาดของแพทย์ที่
1. เกิดหรือกระทำในระยะเวลาระหว่าง Retroactive date จนถึงวันสิ้นสุดความคุ้มครองของกรมธรรม์ปัจจุบัน (Retro date 1 ม.ค. 57- สิ้นสุด กธ. ปัจจุบัน 1 ม.ค.59) และ
2. มีการเรียกร้องไปยังบริษัทรับประกัน (Claims made) ในระหว่างวันที่ กรมธรรม์ปัจจุบันมีผลคุ้มครองเท่านั้น หากเรียกร้อง (Claims made reported) หลังกรมธรรม์หมดอายุแล้ว จะไม่ให้ความคุ้มครอง
จึงเป็นที่มาของการเน้นให้ผู้เอาประกันที่ทำประกันประเภทนี้ ต้องต่ออายุกรมธรรม์ให้มีผลคุ้มครองอยู่เสมอ เพราะการเรียกร้องมักจะตามมาหลังจากเหตุการณ์ที่ทำผิดพลาด อาจนาน 1-2 ปี
ต่างจากประกันภัย Occurence type policy เช่น ประกันภัยรถยนต์ ที่คุ้มครองเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในระหว่างวัน เวลา ที่เริ่มต้นจนถึงวันที่สิ้นสุด เช่น
กรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์ คุ้มครอง 1 มกราคม 2557- 1 มกราคม 2558 และเกิดเหตุรถชนขึ้นในวันที่ 31 ธันวาคม 2557 หากมีการเรียกร้องความเสียหาย 2 มกราคม 2558 ภายหลังวันที่กรมธรรม์หมดอายุ ก็ยังให้ความคุ้มครอง(แต่ต้องมีหลักฐานชัดเจน) เนื่องจากเป็นเหตุที่เกิดในช่วงวันที่กรมธรรม์คุ้มครอง เพราะเป็น กรมธรรม์ Occurence type
เช็คราคาและสั่งซื้อออนไลน์ คลิกที่นี่
กรุณาเลือกสาขาความเชี่ยวชาญทางแพทย์ของท่าน
Retroactive date คืออะไร
กรมธรรม์ประเภท claims made type มักจะใช้กับ การประกันภัยความรับผิดทางวิชาชีพ เช่น แพทย์ เป็นต้น ซึ่งกรมธรรม์ประเภทนี้นอกจากจะมี วันเริ่มและสิ้นสุดความคุ้มครองแล้ว ยังอาจระบุวันที่เริ่มคุ้มครองย้อนหลังหรือ Retroactive date ไว้ โดยส่วนมากจะเป็นวันที่เริ่มต้นเอาประกันในปีแรก
ตัวอย่าง
นายแพทย์ ก ทำประกัน Medical malpractice policy กับบริษัทรับประกัน A ไว้ ซึ่งเป็นกรมธรรม์ประเภท Claims made basis โดยเริ่มเอาประกัน 1 มกราคม 2557 สิ้นสุด 1 มกราคม 2558 และมีการต่ออายุต่อเนื่องอีกในปีที่ 2 กรมธรรม์ในปีที่ 2 ก็จะหมดอายุวันที่ 1 มกราคม 2559 โดยมี Retroactive date เป็นวันที่ 1 มกราคม 2557 (วันแรกที่เริ่มเอาประกันของกรมธรรม์ปีแรก)
Retroactive date สำคัญอย่างไร
จากตัวอย่างข้างต้น ความคุ้มครองของกรมธรรม์ประเภท Claims made type บริษัทรับประกัน A จะคุ้มครองเฉพาะความผิดพลาดของแพทย์ที่
1. เกิดหรือกระทำในระยะเวลาระหว่าง Retroactive date จนถึงวันสิ้นสุดความคุ้มครองของกรมธรรม์ปัจจุบัน (Retro date 1 ม.ค. 57- สิ้นสุด กธ. ปัจจุบัน 1 ม.ค.59) และ
2. มีการเรียกร้องไปยังบริษัทรับประกัน (Claims made) ในระหว่างวันที่ กรมธรรม์ปัจจุบันมีผลคุ้มครองเท่านั้น หากเรียกร้อง (Claims made reported) หลังกรมธรรม์หมดอายุแล้ว จะไม่ให้ความคุ้มครอง
จึงเป็นที่มาของการเน้นให้ผู้เอาประกันที่ทำประกันประเภทนี้ ต้องต่ออายุกรมธรรม์ให้มีผลคุ้มครองอยู่เสมอ เพราะการเรียกร้องมักจะตามมาหลังจากเหตุการณ์ที่ทำผิดพลาด อาจนาน 1-2 ปี
ต่างจากประกันภัย Occurence type policy เช่น ประกันภัยรถยนต์ ที่คุ้มครองเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในระหว่างวัน เวลา ที่เริ่มต้นจนถึงวันที่สิ้นสุด เช่น
กรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์ คุ้มครอง 1 มกราคม 2557- 1 มกราคม 2558 และเกิดเหตุรถชนขึ้นในวันที่ 31 ธันวาคม 2557 หากมีการเรียกร้องความเสียหาย 2 มกราคม 2558 ภายหลังวันที่กรมธรรม์หมดอายุ ก็ยังให้ความคุ้มครอง(แต่ต้องมีหลักฐานชัดเจน) เนื่องจากเป็นเหตุที่เกิดในช่วงวันที่กรมธรรม์คุ้มครอง เพราะเป็น กรมธรรม์ Occurence type
เช็คราคาและสั่งซื้อออนไลน์ คลิกที่นี่
กรุณาเลือกสาขาความเชี่ยวชาญทางแพทย์ของท่าน
- ประกันความรับผิดวิชาชีพแพทย์สำหรับกุมารแพทย์
- ประกันความรับผิดวิชาชีพแพทย์สำหรับแพทย์ทางโลหิตวิทยา
- ประกันความรับผิดวิชาชีพแพทย์สำหรับศัลยแพทย์ แพทย์ผ่าตัด
- ประกันความรับผิดวิชาชีพแพทย์สำหรับจักษุแพทย์
- ประกันความรับผิดวิชาชีพแพทย์สำหรับแพทย์รังสีรักษา
- ประกันความรับผิดวิชาชีพแพทย์สำหรับศัลยแพทย์ตกแต่ง
- ประกันความรับผิดวิชาชีพแพทย์สำหรับจิตแพทย์
- ประกันความรับผิดวิชาชีพแพทย์สำหรับแพทย์เวชศาสตร์นิวเคลียร์
- ประกันความรับผิดวิชาชีพแพทย์สำหรับศัลยแพทย์ระบบประสาทและสมอง
- ประกันความรับผิดวิชาชีพแพทย์สำหรับทันตแพทย์
- ประกันความรับผิดวิชาชีพแพทย์สำหรับแพทย์หู คอ จมูก
- ประกันความรับผิดวิชาชีพแพทย์สำหรับศัลยแพทย์หัวใจและทรวงอก
- ประกันความรับผิดวิชาชีพแพทย์สำหรับพยาธิแพทย์
- ประกันความรับผิดวิชาชีพแพทย์สำหรับรังสีแพทย์
- ประกันความรับผิดวิชาชีพแพทย์สำหรับสูตินรีแพทย์
- ประกันความรับผิดวิชาชีพแพทย์สำหรับแพทย์ทั่วไป
- ประกันความรับผิดวิชาชีพแพทย์สำหรับวิสัญญีแพทย์
- ประกันความรับผิดวิชาชีพแพทย์สำหรับอายุรแพทย์
- ประกันความรับผิดวิชาชีพแพทย์สำหรับแพทย์ทางมะเร็งวิทยา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น